วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

อวัยวะน้ำเหลือง


อวัยวะน้ำเหลือง

ต่อมไทมัส      เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ตอนที่เราอายุน้อย และถ้าอายุมากจะเล็กลงและฝ่อในที่สุด เป็น

ต่อมไร้ท่ออยู่ตรงทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจ ทำหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว กลุ่ม

Lymphocyte ที่มาจากไขกระดูกแล้วเจริญไปเป็นชนิดเซลล์ที่ต่อมไทมัสนี้มีหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคและสาร

แปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย

ม้าม Spleen นุ่มมีสีม่วง อยู่ด้านหลังกระเพาะอาหารใต้กระบังลมด้านซ้าย รูปร่างคล้ายเม็ดถั่ว

เป็นอวัยวะน้ำเหลืองที่ใหญ่ที่สุดมีเส้นเลือดมาเลี้ยงมากมายไม่มีท่อน้ำเหลืองเ้ลยทำให้ยืดหดได้

วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การรักษาสมดุลของร่างกาย



                การรักษาสมดุลของร่างกาย

ระบบขับถ่าย

      สารที่ร่างกายจำเป็นต้องกำจัดออก เรียกว่า  ของเสีย

1.) การรักษาสมดุลของของเหลวในร่างกาย

 - สมดุลเกลือและน้ำ

 -สมดุลกรด ด่างในเลือดและของเหลวนอกเซลล์

 -สมดุลของสารละลายในเลือดและของเหลว

2.) การรักษาอุณหภูมิของร่างกาย

                       

วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย


        ภูมิคุ้มกันของร่างกาย

มีกลไกการป้องกัน 3 อย่างคือ

  1. ผิวหนัง
  2. เซลล์เม็ดเลือดขาว
  3. ระบบน้ำเหลือง

        ภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด มีอยู่ตั้งแต่เกิด  เช่น

1.1 เหงื่อ มีกรดแลกติกป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง

1.2 หลอดลม โพรงจมูก มีขน(ซีเลีย) และน้ำเมือกมาดักจับสิ่งแปลกปลอม

1.3 กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กมีเอนไซม์

1.4 น้ำลาย น้ำตา น้ำมูก มีไลโซโซมมาทำลายจุลินทรีย์ได้


วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เซลล์ cell


         เซลล์ เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด รวมจุลินทรีย์ต่างๆ ยกเว้นไวรัส

บุคคลแรกที่ได้ศึกษาเรื่องเซลล์ คือ Robert Hooke  เขาได้ศึกษาในปี ค.ศ.1663 คือปีที่พบเจอคำว่า Cell

มารจากภาษาละติน อันโตนี วาน เฮเวนฮุค ใช้กล้องจุลลทรรศ์ศึกษาน้ำที่มาจากศัตว์เป็นผู้ที่ค้นพบ

จุลินทรีย์เป็นคนแรกและได้ศึกษาขี้ฟันของตัวเอง

Matthias schleiden  นักพฤกษศาสตร์ชาวชาวเยอรมันค้นพบเซลล์พืช

Theodor schwann   นักสัตววิทยาชาวเยอรมันค้นพบเซลล์สัตว์

  นักวิทยาศาสตร์ 2 ท่านนี้เมื่อนำมารวมกันเป็น ทฤษีเซลล์ ( Cell theory )

เรามีความรู้มาบอกเล็กน้อยนะจ๊ะ บางคนอาจเคยสงสัยว่า ในตัวคนเราจะมีเซลล์กี่เซลล์ คำตอบคือ ใน

ตัวเราจะมีเซลล์ทั้งหมด 100ล้่านล้านเซลล์ค่ะ


วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การแพร่


การแพร่ หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณ

ที่มีความเข้มข้นของสารมากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า

       การแพร่ของโมเลกุลของสาร
 การลำเลียงสารผ่านเซลล์
1. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การลำเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน การแพร่ (diffusion)
                1. การแพร่แบบธรรมดา เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า การเคลื่อนที่นี้เป็นไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไม่มีทิศทางที่แน่นอน ตัวอย่างการแพร่ที่พบได้เสมอคือ การแพร่ของเกลือในน้ำ การแพร่ของน้ำหอมในอากาศ

การแพร่เกิดจากพลังงานจลน์ (kinetic energy) ของโมเลกุลหรือไอออนของสาร บริเวณที่มีความเข้มข้นมากโมเลกุลหรือไอออนก็มีโอกาสชนกันมาก ทำให้โมเลกุลกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ ที่มีความเข้มข้นของโมเลกุลหรือไอออนเท่ากัน จึงเรียกว่า ภาวะสมดุลของการแพร่ (diffusion equilibrium) 
                ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่
                 1. อุณหภูมิ ในขณะที่อุณหภูมิสูง โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์มากขึ้น ทำให้โมเลกุลเหล่านี้เคลื่อนที่ได้เร็วกว่า เมื่ออุณหภูมิต่ำ การแพร่จึงเกิดขึ้นได้เร็ว
                 
2. ความแตกต่างของความเข้มข้น ถ้าหากมีความเข้มข้นของสาร 2 บริเวณแตกต่างกันมาก จะทำให้การแพร่เกิดขึ้นได้เร็วขึ้นด้วย 
                3. ขนาดของโมเลกุลสาร สารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กจะเกิดการแพร่ได้เร็วกว่าสารโมเลกุลใหญ่
                
4. ความเข้มข้นและชนิดของสารตัวกลาง สารตัวกลางที่มีความเข้มข้นมากจะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของตัวกลางมาก ทำให้โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปได้ยาก แต่ถ้าหากสารตัวกลางมีความเข้มข้นน้อย โมเลกุลของสารก็จะเคลื่อนที่ได้ดีทำให้การแพร่เกิดขึ้นเร็วด้วย 
                2. ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของของเหลวผ่านเยื่อบางๆ ซึ่งตามปกติจะหมายถึงการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เนื่องจากเยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติในการยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นผ่านได้ การแพร่ของน้ำจะแพร่จากบริเวณที่เจือจางกว่า (มีน้ำมาก) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นกว่า (มีน้ำน้อย) ตามปกติการแพร่ของน้ำนี้จะเกิดทั้งสองทิศทางคือทั้งบริเวณเจือจาง และบริเวณเข้มข้น จึงมักกล่าวกัน

วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

cork หรือ phellem




cork หรือ phellem


            เกิดจากการแบ่งตัวของ cork cambium  หรือ  cork

เติบโตเต็มที่แล้ว  โพรโทพลาสซึมและเยื่อหุ้มจะสลายไป

เหลือเฉพาะผนังเซลล์ที่มี suberin และ cuticle สะสม

ซึ่งน้ำจะไม่สามารถผ่านได้ เนื้อเยื่อชั้น cork phellogen และ phelloderm

เรียกรวมว่า  Periderm

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ใบ การเจริญเติบโตของใบ และโครงสร้างของใบ



ใบ การเจริญเติบโตของใบ   และโครงสร้างของใบ

   4.1 การเจริญเติบโตของใบ


                    ใบเกิดจากเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายเหมือนกัน ครั้งแรกจะปรากฎเป็นปุ่มเล็กๆ หรือกลุ่มเซลล์

ถัดจากปลายยอดลงมาเรียกว่า  ใบเริ่มแรกเกิด ซึ่งจะเจริญเติบโตเป็นใบพืช ส่วนของลำต้นที่ใบติดอยู่นั้น

เรียกว่า ข้อ และบริเวณระหว่างข้อเรียกปล้อง ในซอกของใบจะพบกลุ่มของเซลล์ตลอดเวลาเหมือนกัน

ให้กำเนิดตาข้างซึ่งจะเจริญเป็นกิ่งต่อไป

                  ปุ่มใบที่เจริญขึ้นมามีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอก ประกอบเนื้อเยื่อเจริญที่มีการแบ่งไมโท

ซิส คือประกอบด้วยเซลล์รอบนอก  ซึ่งประกอบด้วยเซลล์รอบนอก ซึ่งจะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อเอพิดเดอร์

มิส เซลล์ชั้นกลางซึ่งจะเจริญไปเป็นส่วนมีโซฟิลล์ และ เซลล์ชั้นในสุดซึ่งจะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อลำเลียง

หรือส่วนที่เรียกว่า เส้นใบ

วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กลไกการลำเลียงอาหารทางโฟลเอม (ต่อจ๊า)


กลไกการลำเลียงอาหารทางโฟลเอม


  •      สมมติฐานที่ 2
                 เชื่อว่าการลำเลียงอาหารทางโฟลเอมเกิดขึ้นเนื่องจากมีความแตกต่างของแรงดันแต่งภายใน


วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กลไกการลำเลียงอาหารทางโฟเอม

     
          กลไกการลำเลียงอาหารทางโฟเอม

                   จากคุณลักษณะการลำเลีบงอาหารในโฟเอมทั้ง 3 ประการดังที่กล่าวมาทั้งหมดในปัจุบันได้

มีผู้เสนอสมมติฐานเพื่ออธิบายกรรมวิธีในการลำเลียงอาหารหลายแนวคิด แต่เป็นที่ยอมรับแพร่หลาย

2 สมมติฐาน คือ

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การลำเลียงน้ำของพืช


การลำเลียงน้ำของพืช

    ทฤษฎีการลำเลียงน้ำของพืชมีดังนี้

            1.       คะปิลลารีแอกชัน (capillary action)  เป็นการลำเลียงน้ำที่เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล

ของน้ำกับผนังด้านข้างภายในเซลล์ของเนื้อเยื่อไซเลม  โดยเฉพาะเทรคีดและเวสเซล  เเรงดึงดูดนี้เรียก

ว่า แอดฮีชัน ( Adhesion )  การลำเลียงน้ำวิธีนี้ไม่ทำให้น้ำขึ้นไปสูงมากนักเนื่องจากแรงดึงที่เกิดขึ้นมีค่า

น้อย

            2.       แรงดันราก ( Root pressure ) เป็นการลำเลียงน้ำที่เกิดขึ้นเนื่องจากรากดูดน้ำเข้ามาสะสม

และแออัดอยู่ในไซเลม  ทำให้เกิดแรงดันของน้ำภายในราก ( Hydrostatic pressure )  ซึ่งจะดันให้น้ำและ

สารละลายที่ปะปนอยู่เคลื่อนที่ขึ้นสู่ส่วนบนของพืชได้ สภาพการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ง่าย  เมื่อมีน้ำอุดม

สมบูรณ์และพืชอยู่ในสภาวะที่คายน้ำได้ไม่สะดวก  การทดลองเกี่ยวกับแรงดันรากทำได้โดยตัดลำต้น

พืชที่อยู่เหนือดินประมาณ 8-10 cm จะมีน้ำใสๆเรียกว่า แซพ (Sap)  ถูกผลักดันให้ออกมาจากปลายตอที่

เหลืออยู่ ซึ่งวัดขนาดของแรงดันรากได้โดยการต่อปลายของตอเข้ากับเครื่องวัดความดันของของเหลว

ที่เรียกว่า แมโนมิเตอร์ ( Manometer) ขนาดของแรงดันรากที่วัดได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์ และสามารถทำให้

น้ำถูกดันขึ้นไปในท่อลำเลียงได้ไม่เกิน 20 เมตร วิธีนี้จึงไม่ใช่วิธีสำคัญที่ทำให้ยอดไม้สูงๆ เกิน 20 m ได้

แต่นักสรีรวิทยาพืชบางท่านให้แนวคิดไว้ว่า  แรงดันรากมีความสำคัญในการลำเลียงน้ำในพืชบางชนิด

และบางเวลาเท่านั้น บางท่านกล่าวว่า แรงดันรากมีความสำคัญในการไล่อากาศออกจากทางเดินของน้ำ

และทำให้น้ำที่ขาดตอนออกจากกันเชื่อมต่อกันใหม่

วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การลำเลียงอาหารของพืช



การลำเลียงอาหารของพืช

        อาหารที่พืชสร้างขึ้นได้แก่น้ำตาล หรือสารประกอบชนิดอื่นๆ ที่ถูกเปลี่ยนไป จะถูกลำเลียงไปตาม

เนื้อเยื่อโฟเอมโดยเฉพาะ เพื่อนำๆปเลี้ยงส่วนต่างๆ ที่กำลังเจริญ เช่น ยอดอ่อ หรือปลายราก หรืออาจ

นำไปเก็บสะสมไว้ที่บริเวณสะสมอาหาร เช่น ราก หรือหัวเป็นต้น เนื้อเยื่อโฟเอม ที่ทำหน้าที่ลำเลียงมี

คุณลักษณะต่างจากเนื่อเยื่อ ไซเลม ดังนี้

วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ความสำคัญของการคายน้ำ


ความสำคัญของการคายน้ำนะค่ะ.


            ในปัจจุบันนักวิชาการเชื่อว่า การคายน้ำเป็นโทษต่อพืชมากกว่าจะเป็นประโยชน์  กล่าวคือ ถ้าพืช

ได้รับน้ำไม่เพียงพอกับปริมาณน้ำที่พืชคายออกไปจะทำให้พืช เจริญเติบโต ช้าลง และอาจตายได้ นับว่า

วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รากและโครงสร้างราก


รากและโครงสร้างราก

1. หน้าที่ของราก

  ราก (Root) เป็นโครงสร้างของพืชที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างหลายประการ เช่น

1. ดูดหาอาหารโดยเฉพาะน้ำและเกลือแร่ เพื่อใช้ในการเจริญเติบโตของพืช

2. ช่วยลำเลียงสาร เช่น น้ำ เกลือแร่  ที่ดูดมาจากสารละลายในดิน ไปยังส่วนต่างๆของพืชและลำเลียง

อาหารจากแหล่งสร้างมาเลี้ยงส่วนต่างๆของรากเอง

3. ยึดพยุึงลำต้นลำต้นให้มั่นคงโดยเฉพาะ

วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ลำดับ เลขคณิต


  บทนิยาม

  ลำดับคือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก

  •  ลำดับที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก n จำนวนแรก คือ " ลำดับจำกัด "

  • ลำดับที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก คือ " ลำดับเลขอนันต์"

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การสังเคราะห์แสง ประวัติผู้ค้นพบ



       ประวัติผู้ค้นพบ

1. ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ ค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2191 เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์ ชาวเบลเยียม วึ่งได้

ทำการค้นคว้าทดลองเกี่ยวกับ ต้นหลิว เขาได้สรุปเกี่ยวกับการทดลองว่า  น้ำหนักของต้นหลิวที่เพิ่ม

ขึ้นได้มาจากน้ำเพียงอย่างเดียว ซึ่งข้อสรุปนี้ได้รับการยอมรับกว้างขวางอย่างมากในยุคนั้น

2. โจเซฟ พริสต์ลีย์  ทดลองโดยนำหนูมาใส่ไว้ในที่ครอบแก้ว ผ่านไปสักแป๊ปเดี๋ยว หนูก็ตาย ก็เลยลอง

เอาเทียนไขที่จุดแล้วใส่เข้าไปสักครู่ เทียนก็ดับ เขาเลยสรุปว่า

วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาที่ใช้แสง


ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาที่ใช้แสง

     1.       สารสี แบ่งเป็น 2 ระบบ

1.1 สารสีระบบที่หนึ่ง  ทำหน้าที่รับพลังงานแสง ประกอบดวยสารชนิดสำคัญ คือ คลอโรฟิลล์ เอ ชนิดรับ

แสง 700 นาโนเมตร พบในพืช และสาหร่ายทุกกลุ่ม

โครงสร้างคลอโรพลาส


         โครงสร้าง chlor



อ-  อร์แกเนลล์ที่สำคัญ ของพืช คือ คลอโรพลาสต์เป็นแหล่งที่เกิดปฏิกิริยาในการสังเคราะห์ด้วยแสง


- คลอโรพลาสส่วนใหญ่จะมี   รูปร่างกลมรี    มีขนาดยาวประมาณ 5 ไมโครเมตร กว้าง 2 ไมโครเมตร

วันพุธที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Dark reaction ปฎิกิริยาไม่ใช้แสง

Dark reaction 


            เป็นกระบวนการที่เกิดต่อจาก  light reaction

* เพื่อเปลี่ยน คาร์บอน ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต โดยใช้ ATP และ NADPH+H+

*เรียกว่า  Calvin cycle หรือ Carbon Fixation

  เดี๋ยวเราจะมีภาพมาให้ดูน่ะค่ะ

วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กระบวนการ Hatch-slack ม.5


กระบวนการ แฮตสแลก  หรือการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ ของพืช C-4 เรื่องนี้ครูที่โรงเรียน สอนโครตดี

เลย แป๊ป

เดียว ก็เข้าใจแล้ว เดี๋ยวเรามาดูเนื้อหากันดีกว่าค่ะ

วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กระบวนการสังเคราะห์แสง ชีวะ


         เรามาดูกระบวนการสังเคราะห์แสงกันดีกว่าค่ะ

กระบวนการสังเคราะห์แสง ( photosynthesis ) เป็นการสร้างอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตของพืชสีเขียว

เพื่อใช้ในการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของพืชอีกทั้งยังเป็นการผลิตอาหารสำหรับสิ่งมี

วันเสาร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก ชีวะ ม.5

โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก


1. เนื้อเยื่อพืช (Plant tissue)  เนื้อเยื่อของพืชน่ะค่ะ เราสามารถแบ่งออกได้ไป 2 ลักษณะคือ

   1.1 เนื้อเยื่อเจริญ Meristem และเนื้อเยื่อเจริญนี้ก็ยังแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ

   1.1.1 เนื้อเยื่อเจริญปลาย ( Apical meristem)