วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เสียงในภาษา



                                                                     เสียงในภาษา


                เสียงในภาษา มี 3 ชนิด คือ


1. เสียงพยัญชนะ หรือ เสียงแปล  คือ เสียงที่แปลงออกมาแล้วมีการดัดแปลงลมโดยอวัยวะในช่องปาก

กัก  หรือกั้นลมไว้ในลักษณะต่างๆ ทำให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะเสียงแตกต่างกันไป เสียงพยัญชนะไทย

ในภาษาไทยมีทั้งสิ้น 21 เสียง มีสัญลักษณะใช้แทนเสียง รูปพยัญชนะ มี 44 รูป


2. เสียงสระ หรือ เสียงแท้ คือ เสียงที่แปลงออกมาจากลำคอโดยตรง ไม่ผ่านการกัก หรือ กั้นลม  เป้น

เสียงก้อง โดยใช้ส่วนต่างๆของลิ้น เคลื่อนไหวขึ้น-ลง ในระดับต่างๆ ( สูง  กลาง  ต่ำ )  และริมฝีปากก็

เปลี่ยนรูปลักษณะแตกต่างกัน มีผลทำให้เกิดเสียงสระที่แตกต่างกัน เสียงในภาษาไทยมี 24 เสียงมี

สัญลักษณ์ใช้แทนเสียง เรียกว่า รูปสระ  21  รูป


3. เสียงวรรณยุกต์ หรือ เสียงดนตรี  คือ ระดับเสียง สูง-ต่ำ ที่มีความถี่ของเสียงแตกต่างกันออกไป มีทั้ง

สิ้น 5 เสียง มีสัญลักษณ์ใช้แทนเสียง  เรียกว่า  รูปวรรณยุกต์  มี 4 รูป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น