วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2558
การสนธิ
การสนธิ
การสนธิคือการประสมคำของภาษาบาลีสันสฤตถือว่าเป็นคำสมาสชนิดหนึ่งแต่เป็น
คำสมาสที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์ไทยนำดัดแปลงเป้นการสนธิแบบโดยมีหลักการดังนี้
1. ต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น
2. ศัพท์ประกอบไว้หน้าศัพท์หลักไว้หลัง
3. แปลจากหลังมาหน้า
4. ถ้าเป็นสระสนธิศัพท์ตัวหลังจะขึ้นต้นด้วย ตัว อ
5. มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์ตามหลักที่จะกล่าวต่อไป
การสนธิมีอยู่ 3 ชนิด คือ
1. สระสนธิ 2. พยัญชนะสนธิ 3. นฤคหิตสนธิ
สระสนธิ คือการนำคำบาลีสันสฤตมาสนธิกับคำที่ขึ้นต้นด้วยสระมีหลักการดังนี้
1. ตัดสระท้ายคำหน้าใช้สระหน้าคำหลัง เช่น
ชล + อาลัย = ชลาลัย
เทว + อาลัย = เทวาลัย
มหา + อัศจรรย์ = มหัศจรรย์
2. ตัดสระท้ายคำหน้าใช้สระหน้าคำหลังแต่เปลี่ยนสระหน้าคำหลังจาก อะ เป็น อา อิ เป็น เอ เช่น
ประชา + อธิไตย = ประชาธิปไตย
เทศ + อภิบาล = เทศบาล
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น